ประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
มาตรฐาน ส4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญา มีความภาคภูมิใจและธำรงความเป็นไทย.
รัตนโกสินทร์เป็นช่วงสืบทอดอารยธรรมไทยครั้ง “บ้านเมืองดี”ไว้จนพัฒนาต่อเนื่องถึงปัจจุบัน
ลำดับเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์
รัชกาล |
การเมืองการปกครอง |
เศรษฐกิจ |
สังคมและวัฒนธรรม |
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช |
การสถาปนา –ปราบดาภิเษก การปกครอง –สถาปนากรุงเทพเป็นราชธานี –การปกครองแบบเดียวกับอยุธยา เคียงสมุหนายกและสมุห หัวเมืองต่างๆ –ชำระกฏหมายไว้เป็นหลัก –ตั้งท้าวเทพสตรี –ลดตำแหน่งผู้ครองเมืองนครศรีธรรมราชจาก ประเทศราชเป็นเจ้าเมืองเอก |
การค้า ส่งเสริมการค้ากับจีนตามระบบรัฐบรรณาการโดยมีพ่อค้าจีนในไทยเป็นผู้ประสานตลาดการค้าต่างแดน การประกอบอาชีพ –ส่งเสริมการเพาะปลูก –สนับสนุนอาชีพหัตถกรรมเป็นระบบอุตสาหกรรมในครัวเรือน สามโคก การเก็บภาษี –ใช้ระบบเดิมสมัยอยุธยา –เงินตราใช้เงินพดด้วงประทับตราจักรี |
การควบคุมกำลังพล –การแบ่งชนชั้นสังคมเหมือนสมัยอยุธยา –การเข้าเวรเกณฑ์แรงงานลดลงเหลือเพียงเข้าเดือนออกสองเดือน –พระราชทานที่อยู่ให้ชาวต่างชาตินอกเขตกำแพงพระนคร การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม –รื้อฟื้นวิถีชีวิตแบบอยุธยา –สร้างพระบรมมหาราชวัง –รื้อฟื้นพระราชพิธีโบราณ –ส่งเสริมวรรณกรรมที่เคยมีสมัยอยุธยา –นาฏกรรม |
ศาสนา –สังคายนาพระไตรปิฏกฉบับทอง –อัญเชิญพระพุทธรูปจากหัวเมืองมาไว้กรุงเทพ |
|||
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย |
ด้านการปกครอง –สถาปนาสมเด็จพระอนุชาเจ้าฟ้า –สถาปนาเจ้านายให้กำกับราชการกรมต่างๆ –ปราบกบฏกรมขุนกษัตรานุชิต –สร้างนครเขื่อนขันธ์เมืองสมุทรปราการเป็นป้อมปราการป้องกันข้าศึก |
รายได้ –ห้ามค้าฝิ่น –ตั้งโรงงานผลิตน้ำตาลทราย –การค้าสำเภาไปเมืองท่าจีนและเมืองมาเก๊า –การค้าขายของหลวง, การผูกขาดของพระคลังสินค้า |
การรื้อฟื้นประเพณี –ประเพณีวันวิสาขบูชา การก่อสร้าง –ขยายพระบรมมหาราชวังออกไปถึงวัดพระเชตุพน –สร้างสวนขวาอันงดงาม –สร้างวิหารที่วัดสุทัศน์ –ซ่อมแซมวัดอรุณราชวราราม การส่งเสริมวัฒนธรรม –บทพระราชนิพนธ์ละครใน –การปรับปรุงกระบวนท่ารำของละครนอก –การใช้ธงช้าง –การทำเครื่องเบญจรงค์ลายน้ำทอง ศาสนา –สังคายนาบทสวดมนต์ –สมโภชพระพุทธบุษยรัตน์ –ส่งทูตไปลังกา |
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว |
การส่งเสริมความมั่นคง –สร้างป้อม –ต่อเรือกำปั่นลำแรกชื่อแก้วกลางสมุทร –ขุดคลองแสนแสบจากหัวหมากไปเชื่อมแม่น้ำ บางปะกงที่บางขนาก –เกิดสงครามระหว่างไทยกับเวียงจันทน์เป็นวีรกรรมคุณหญิงโมเมืองนครราชสีมา –ตีเมืองเชียงตุง –อังกฤษส่งเซอร์เจมส์ ขอแก้สนธิสัญญา |
การค้าขาย –สนธิสัญญาเบอร์นี่กำหนดให้ไทยเก็บภาษีปากเรืออย่างเดียว –เริ่มมีเจ้าภาษีนายอากร –เก็บภาษีอากรใหม่ –ยกเลิกภาษีบางประเภท –การเก็บเงินผูกปี้ –เจ้านายขุนนางและชาวจีนมีบทบาทอย่างยิ่งในการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ |
การก่อสร้าง –ซ่อม/สร้างพระบรมมหาราชวัง –ปฏิสังขรณ์พระอารามต่างๆ อิทธิพลต่างชาติ –มิชชันนารีนิกายโปรแตสแตนท์เข้ามาเผยแผ่ศาสนาคริสต์ –บาดหลวงปาเลอร์กัวซ์เข้ามาเผยแผ่ศาสนาคริสต์นิกายโรมัน คาทอลิค –หมอบรัดเล่ห์เริ่มนำวิทยาการ แพทย์แบบตะวันตกเข้ามาใช้ –มิชชันนารีอเมริกันเริ่มพิมพ์หนังสือด้วยแท่นพิมพ์เป็นครั้งแรก –เกิดกรณีพิพาทกับโรเบรต์ ฮันเตอร์ พระปะแดงเตรียมป้องกันอังกฤษ ศาสนา –ตั้งพระราชาคณะ –สร้างพระพุทธรูปถวาย –เจ้าฟ้ามงกุฏตั้งธรรมยุติกนิกายและมหามกุฏราชวิทยาลัย |
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ด้านความมั่นคง –สร้างป้อมป้องกันพระนครรวม –ไทยทำสัญญากับฝรั่งเศสยอมรับว่าเขมรส่วนนอกเป็นของเขมร ด้านการปกครอง –เสด็จประพาสหัวเมืองตะวันออก –ปักปันเขตแดนไทยกับพม่าของอังกฤษ –จ้างชาวอังกฤษทำแผนที่ลำน้ำโขง –เสด็จทอดพระเนตรสุริยุปราคาที่ ด้านสัมพันธไมตรี –แต่งฑูตไปจิ้มก้องจักรพรรดิจีน –เซอร์จอห์น –สหรัฐอเมริกา |
การปรับปรุงระบบการค้า –การจัดระบบการจัดเก็บภาษีศุลกากรและเปิดให้มีการค้าโดยเสรี –พระราชทานที่ดินให้ชาวต่างประเทศตั้งห้าง –ไทยยอมให้ฝรั่งเศสนำสุราทุกชนิดเข้ามาขาย เสียภาษีร้อยชักสาม ด้านการคมนาคม –ขุดคลองผดุงกรุงเกษม –ตัดถนนเจริญกรุง, สร้างถนนบำรุงเมือง –ทำประภาคารบริเวณสันดอนปากน้ำเพื่อเป็นสัญญาณเรือสินค้าเข้า–ออก สนธิสัญญาเบาริง –ยกเลิกพระคลังสินค้า –เก็บภาษีขาเข้าร้อยละ –ไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต |
การปรับปรุงธรรมเนียม –แก้ไขธรรมเนียมข้าราชการเข้าเฝ้าให้สวมเสื้อ –กำหนดให้เรียกพระนามพระมหากษัตริย์ตามนามแผ่นดิน –พิธีบรรจุดวงชะตาพระนคร –พระราชทานเงินคนชรา –เฉลิมพระชนม์พรรษาครบ ศาสนา –ส่งสมณทูตไปลังกา –สมโภชพระปฐมเจดีย์ –เสด็จนมัสการพระพุทธบาท –คืนพระบางกลับไปหลวงพระบาง –สมโภชพระแก้วมรกต การก่อสร้าง –สร้างหมู่พระอภิเนาวนิเวศน์ –สร้างพระนครคิรีที่เพชรบุรี –สร้างพระราชวังสราญรมย์ จำลองประสาทนครวัดในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม –สร้างประตูกำแพงพระบรมมหาราชวังชั้นนอก |
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ผลจากสนธิสัญญาเบาริง –การค้าเสรีโดยที่สินค้าเข้าเป็นสินค้าบริโภคของคนทั่วไปมกกว่าสินค้าสนองความต้องการชนชั้นสูง –มีการผลิตเพื่อการค้าโดยเฉพาะข้าวมีการขยายพื้นที่ทำนา –ผลผลิตในอุตสาหกรรมครัวเรือนลดลง –มีการใช้เงินตราแพร่หลายและตั้งโรงกษาปณ์ขึ้น |
|
|
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว |
–ตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดินและสภาที่ปรึกษาส่วนพระองค์ –เสียดินแดนฝั่งขวา –เสียไทรบุรี การปฏิรูปการศาล –สถาปนากระทรวงยุติธรรม –ตั้งโรงเรียนกฎหมาย –พ.ร.บ.กรรมสิทธิ์ผู้แต่งหนังสือแปลงชาติ การปกครองส่วนกลาง –แต่งตั้งกรมเพิ่มอีก –เปลี่ยนกรมเป็นกระทรวง –ประกาศตั้งกระทรวง การปกครองส่วนภูมิภาค –แบ่งการปกครองหัวเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็น –จัดการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลมีข้าเหลวงเทศาภิบาลดูแล การปกครองส่วนท้องถิ่น –จัดตั้งสุขาภิบาลท่าฉลอมขึ้น –พ.ร.บ.การสุขาภิบาล |
การปฏิรูปเศรษฐกิจ –ตั้งหอรัษฏากรพิพัฒน์และปฏิรูปวิธีการจัดเก็บภาษีอาการ –ตั้งกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ –ตั้งธนาคารบุคคลัภย์ การพัฒนาคมนาคม –สร้างถนนต่างๆ สุรวงศ์, เดโช ,สาธร สี่พระยา –สร้างสะพานไม้ –เปิดการเดินรถรางเป็นครั้งแรกและเปิดการเดินรถไฟ –เอกชนตั้งบริษัทขุดคลองและคูนาสยามเพื่อพัฒนาคมนาคมพัฒนาการชลประทาน |
การเลิกทาส –พ.ร.บ.พิกัดเกษียณอายุลูกทาสลูกไท –พ.ร.บ.ลักษณะทาสมณฑลตะวันออกเฉียงเหนือ การเลิกไพร่ –ตรา –จัดตั้งกรมทหารหน้า –สำรวจบัญชีสำมะโนครัวไพร่โดยให้ไพร่ขึ้นบัญชีท้องที่ไพร่อาศัยแทนบัญชีมูลนาย การปฏิรูปการศึกษา –ตั้งโรงเรียนหลวงสำหรับเจ้านาย –ตั้งโรงเรียนกุลสตรีวังหลัง –ตั้งโรงฝึกหัดอาจารย์ –พระราชทานทุนเล่าเรียนหลวงปีละ ด้านสาธารณสุข –ตั้งโรงพยาบาลแห่งแรกและตั้งโรงเรียนราชแพทยาลัย –ตั้งสภาอุณาโลมแดง พัฒนาความเจริญแบบตะวันตก –ตั้งกรมไปรษณีย์ –นำไฟฟ้าเข้ามาใช้ –บริการโทรศัพท์ในเขตพระนคร ศาสนา –สังคายนาคัมภีร์พระไตรปิฏกและพิมพ์เป็นภาษาไทยครั้งแรก –รัฐบาลอินเดียถวายพระบรมสารีริกธาตุบรรจุในพระเจดีย์บรมบรรพต –ตรา –สร้างวัดราชบพิธฯ |
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ด้านการปกครอง –ตั้งกองเสือป่าฝึกพลเรือนให้รู้จักยุทธวิธีการรบ–แนวคิดสามัคคี –สร้างอุดมการณ์ชาตินิยม –ไทยเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ –ตรากฎมณเฑียรบาล –ปรับปรุงการปกครองส่วนภูมิภาค –กบฏ ร.ศ.130 –ตั้งดุสิตธานีเพื่อทดลองประชาธิปไตย |
การปฏิรูปเศรษฐกิจ –ตั้งธนาคารออมสิน –โปรดเกล้าฯให้เลิกหวย –วิกฤตการณ์เศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งที่ |
การศึกษา –ประกาศ –จัดตั้งโรงเรียนมหาดเล็กหลวงวชิราวุธวิทยาลัย –ตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือน –ตั้งโรงเรียนเพาะช่าง –ประกาศตั้งกิจการลูกเสือ การก่อสร้าง –สร้างพระราชวังสนามจันทร์ –ซ่อมแซมพระปฐมเจดีย์และพระประโทน การปรับปรุงวิถีชีวิต –ประกาศใช้ –ใช้ พ.ศ.แทน |
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ด้านการเมือง –ตั้งอภิรัฐมนตรีสภา –ตั้งสภาป้องกันราชอาณาจักร –การปฏิวัติโดยคณะราษฏร –พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับสมบูรณ์วันที่ –สละราชสมบัติ ด้านการปกครอง –ตั้งสภาบำรุงชายทะเลตะวันตกเพื่อให้คนในท้องถิ่นปกครองตนเอง –ยกเลิกภาคมณฑล |
การแก้ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำ –ลดเงินปีที่เป็นรายจ่ายของพระคลังข้างที่และตัดทอนรายจ่ายส่วนพระองค์ –ยุบหน่วยงานและตำแหน่งข้าราชการที่เกินความจำเป็น –ตัดงบประมาณรายจ่ายของกระทรวง –ลดเงินเดือนข้าราชการ |
การพัฒนาด้านคมนาคม -เปิดสะพานพระราม -ตั้งบริษัทเดินอากาศ –เปิดสถานีวิทยุกระจายเสียงสำหรับประชาชนทั่วไป –ปฏิสังขรณ์วัดพระศรีรัตนศาสดารามในงานฉลองพระนคร สร้างพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก |
ประวัติศาสตร์ไทยพ.ศ. 2475 –ปัจจุบัน
ประเทศไทยนับตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองพระมหากษัตริย์เป็นประมุขอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
ประเทศไทยพัฒนาสู่การปกครองแบบประชาธิปไตยแต่ก็ไม่ราบรื่นนัก เนื่องจากมีการรัฐประหารการปฏิรูปการเมืองเกิดขึ้นหลายครั้งสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญๆ
ได้แก่
สมัยจอมพลป.พิบูลสงคราม การเปลี่ยนแปลงสมัยนี้ปกครองประทศภายใต้แนวคิดการสร้างชาติใหม่ในระบอบประชาธิปไตย โดยมุ่งปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย คุณสมบัติที่ต้องการ คือ รักชาติ มีวัฒนธรรมแบบอารยะ หรือนโยบายรัฐนิยม
การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ
ด้านสังคม
- เปลี่ยนชื่อสยามมาเป็นประเทศไทย
- เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่เป็น 1 มกราคม
- เปลี่ยนแปลงการแต่งกายให้เป็นแบบตะวันตก
- เปลี่ยนแปลงด้านภาษา และ
- ยกเลิกระบบราชทินนาม
ด้านการปกครอง ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้นำลัทธิผู้นำมาใช้ และเหตุการณ์สำคัญได้แก่
- ญี่ปุ่นยกดินแดนที่ไทยเคยเสียดินแดนให้แก่อังกฤษฝรั่งเศสในสมัยรัชกาลที่ 5 คืนแก่ไทย
- รัฐบาลไทยประกาศสงครามกับสัมพันธมิตรขบวนการเสรีไทยประท้วงการประกาศสงครามของรัฐบาลไทยและรวบรวมคนไทยเพื่อต่อต้านญี่ปุ่น
- หลังสงครามโลกอังกฤษบังคับให้ไทยทำความตกลงสมบูรณ์แบบโดยให้คืนดินแดนที่ญี่ปุ่นยึดจากอังกฤษแล้วยกแก่ไทยคืนอังกฤษให้ข้าวสารแก่อังกฤษ1.5 ล้านตันและชดเชยค่าเสียหายอื่นๆ
- ไทยคืนดินแดนที่ได้มาจากญี่ปุ่นแก่ฝรั่งเศส
- ไทยเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ
ด้านเศรษฐกิจ
- รัฐวิสาหกิจ
- การสงวนอาชีพให้คนไทย
- เกิดภาวะเงินเฟ้อและขาดแคลนเงินตราต่างประเทศ
สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
การปกครองสมัยนี้แสดงถึงพลังลัทธิทหาร ซึ่งให้ความสำคัญกับสถาบันพระมหากษัตริย์โดยที่รัฐบาลไทยเป็นตัวแทนของกษัตริย์ในการบริหารราชการแผ่นดิน รัฐบาลทหารมีอำนาจสูงสุดในการรักษาสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ให้อยู่อย่างสันติสุขประชาชนมีหน้าที่เชื่อฟังและปฏิบัติตามคำสั่งของรัฐบาลแนวคิดลัทธิทหารสืบทอดถึงสมัยจอมพลถนอม กิตติขจรจนกระทั่งเกิดกระแสต่อต้านจากประชาชน
ระบอบเผด็จการทหารสิ้นสุดด้วยกรณีเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
นโยบายเศรษฐกิจสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ได้ดำเนินนโยบายส่งเสริมให้มีการลงทุนจากต่างประเทศเป็นการส่งเสริมให้กลุ่มนายทุนสามารถผูกขาดทางเศรษฐกิจของชาติ โดยรัฐบาลเป็นผู้ประสานประโยชน์ไว้ ทำให้กลุ่มนักการเมือง ข้าราชการ พ่อค้าเป็นกลุ่มผลประโยชน์เดียวกันแต่ประชาชนส่วนใหญ่ขาดโอกาสมีส่วนร่วมทางการเมืองจนมีการเรียกร้องให้มีประชาธิปไตยมากขึ้น
ช่วงปี พ.ศ.2516-2519 ประชาชนมีส่วนร่วมและรัฐบาลเริ่มกระจายผลประโยชน์ไปยังกลุ่มประชาชนกลุ่มต่างๆ เช่น ความเจริญสู่ชนบท
การเปลี่ยนแปลงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
- ไทยดำเนินนโยบายผูกพันกับอเมริกาจึงมีการเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษาและสังคมตามหลังสงครามโลกอังกฤษบังคับให้ไทยทำความตกลงสมบูรณ์แบบโดยต้องคืนดินแดนที่ญี่ปุ่นยึจากอังกฤษแล้วยกให้ไทยคืนแก่อังกฤษและให้ข้าวสารแก่อังกฤษ1.5 ล้านตันรวมทั้งชดใช้ค่าเสียหายอื่นๆ
- ไทยคืนดินแดนที่ได้มาจากญี่ปุ่นคืนแก่ฝรั่งเศสและไทยเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ
- ไ ทยร่วมมือกับฝ่ายโลกเสรีเมื่ออเมริกาทำสงครามในอินโดจีนโดยไทยเข้าร่วมสงครามกับเวียดนามด้วย
- หลังสงครามเวียดนามไทยงดการพึ่งพาอเมริกาหันไปสร้างความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ เช่น
จีน รัสเซียและกลุ่มอาเซียน